ประวัติและผลงานทางวิชาการผู้รับผิดชอบหลักสูตร
และอาจารย์ประจำหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
ชื่อ/ฉายา/นามสกุล ⇒ พระมหาณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี,ดร. (หาญพงษ์)
ตำแหน่งทางวิชาการ ⇒ อาจารย์
สาขาที่เชี่ยวชาญ ⇒ พระพุทธศาสนา
สังกัด/สถานที่ ⇒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาเขตขอนแก่น
ภาระงานในความรับผิดชอบ(ภายใน ๓ ปี ย้อนหลัง)
๑) ประสบการณ์ในการสอนปริญญาตรี
ที่ |
รายวิชาที่สอน |
สถาบัน |
๑ |
วิชาชาดกศึกษา | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๒ |
วิชาพระพุทธศาสนากับสันติภาพ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๓ |
วิชาพระพุทธศาสนากับนิเวศวิทยา | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๔ |
วิชาวิสุทธิมรรคศึกษา | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๕ |
วิชาหลักพุทธธรรม | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๖ |
วิชาวรรณคดีบาลี | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๗ |
วิชาพระไตรปิฎกศึกษา | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๘ |
วิชาธรรมประยุกต์ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๑๐ |
วิชาสัมมนาพระพุทธศาสนา | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๑๑ |
วิชามังคลัตถทีปนีศึกษา | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๑๒ |
วิชามิลินทปัญหาศึกษา | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๑๓ |
วิชาพุทธธรรมกับสังคมไทย | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๑๔ |
วิชาพระพุทธศาสนากับสตรี | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๑๕ |
วิชาศึกษาอิสระทางปรัชญา | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๑๖ |
วิชาภาษากับการสื่อสาร | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
๑๗ |
วิชาพระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น |
ผลงานทางวิชาการ
๑. งานวิจัย
๑) พระมหาณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี,พระมหาพิสิฐ วิสิฏฺฐปญฺโญ“คุณค่าของพระธาตุเจดีย์ที่มีต่อวิถีชีวิตของประชาชน ในจังหวัดขอนแก่นร้อยเอ็ด และมหาสารคาม”. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๓, จำนวน ๑๕๑ หน้า.
๒. บทความวิจัย/บทความวิชาการ
๑) พระณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี. “คุณค่าการปกครองแบบธรรมาธิปไตยตามนัยพุทธจริยศาสตร์”วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. TCI 1. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ ประจำเดือนมกราคม – มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ISSN : ๒๕๓๙-๖๗๕๗ หน้า 30-46.
๒) พระณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี. “สารัตถะในการสะเดาะเคราะห์แก้กรรมตามทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท”. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ ๒ ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ หน้า 126-136
๓) พระณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี.“ระเบียบสามัคคี บำเพ็ญประโยชน์ ตามหลักพุทธศาสตร์พัฒนาชาติอย่างมั่นคง”The 2 nd MBUREC National Conference 2019 “Discipline, Harmony and Services based on Buddhismtoward a Sustainable Society Development”รวมบทความและบทคัดย่อ(Abstract & Proceeding) หน้า ๑๒๖- ๑๓๖.
๔) พระณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี.“ผ้าไหม ไทย-จีน ยุคก่อนประวัติศาสตร์ : คุณค่าความงามและสายสัมพันธ์”. การประชุมวิชาการและการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ ๑ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ หน้า 1512-1521.
๕) พระณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี. “แนวทางแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคมสงฆ์ด้วยระบบอุปถัมภ์” ในวารสาร JOURNAL มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. TCI ๒. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๓ ISSN :๒๒๘๖-๖๙๐๖ (ผู้เขียนร่วม) หน้า 453-462.
๖) พระณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี. “แนวทางการสร้างสันติภาพท่ามกลางพหุวัฒนธรรมในสังคมไทย”. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาจุฬาฯ สุรินทร์ ครั้งที่ ๑ The ๑st MCUSR National Conferenceพุทธบูรณาการ อารยธรรมวนัมฏองแหรก สู่การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน Buddhist Integration on VanamDongrak Civilization towards Sustainable Social Development ๓ เมษายน ๒๕๖๓ หน้า 70-78
๗) Phramaha Natthabhan Hanpong. “The Conflict Management based on Buddhism Principle”. Annals of the Romanian Society for Cell Biology. Scopus Q4. ISSN:1583-6258, Vol. 25, Issue 6, 2021, Pages. 4747-475. https://www.annalsofrscb.ro/index.php/journal/article/view/6331
๘) Phramaha Natthabhan Hanpong. “Cultural Review: The Role and Status of the Deities in Tibetan Buddhist Practice”. Linguistics and Culture Review. SCOPUS. ISSN (online): 2690-103X. Vol. 5 No. S1 (2021) Page 609-616. https://doi.org/10.21744/lingcure.v5nS1.1445
๙) พระมหาณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี. “กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามทัศนะพุทธปรัชญา”.ในวารสาร JOURNAL มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. TCI ๒. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๔ E-ISSN :๒๕๖๑-๒๐๐๙ หน้า ๙๓๓-๙๔๓. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AJMBU/article/view/246091/167197
๑๐) พระมหาณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี. “การพัฒนาจิตด้วยพุทธจริยศาสตร์”.ในวารสารธรรมทัศน์. TCI 1. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๓ กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๔. E-ISSN ๒๖๙๗-๖๖๗๖. (ผู้เขียนร่วม) หน้า ๓๐๑-๓๑๒.https://so06.tci-thaijo.org/index.php/dhammathas/issue/view/17132
๑๑) พระมหาณัฐพันธ์ สุทสฺสนวิภาณี. แนวคิดพุทธปรัชญาในการดูแลผู้สูงอายุ. ในวารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. TCI 2. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๔. ISSN ๒๕๓๙-๖๗๕๗. หน้า ๙๐-๑๐๐. (ผู้เขียนร่วม) https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/issue/view/17051