โครงสร้างหลักสูตร
๑) แผน ก แบบ ก (๒) ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๗ หน่วยกิต และทําวิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่า เทียบได้ ๑๒ หน่วยกิต
๒) แผน ข ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๓๓ หน่วยกิต และทําสารนิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๖ หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร เป็นแบบ แผน ก แบบ ก (๒) และแผน ข โดยแบ่งหมวดวิชาตามที่กําหนดไว้ในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ดังนี้
หมวดวิชา |
แผน ก แบบ ก (๒)/หน่วยกิต |
แผน ข/หน่วยกิต |
๑. หมวดวิชาบังคับนับหน่วยกิต |
๙ |
๙ |
๒. หมวดวิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต |
(๑๕) |
(๑๕) |
๓. หมวดวิชาเอก |
๑๒ |
๑๒ |
๔. หมวดวิชาเลือก |
๖ |
๑๒ |
๕. วิทยานิพนธ์ |
๑๒ |
- |
๖. สารนิพนธ์ |
- |
๖ |
รวมทั้งสิ้น |
๓๙ |
๓๙ |
รายวิชาในหลักสูตร
(๑) แผน ก แบบ ก (๒)
วิชาบังคับแบบนับหน่วยกิต จํานวน ๙ หน่วยกิต
๖๐๐ ๑๐๑ | พระไตรปิฎกวิเคราะห์ Tipitaka Analysis |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๐ ๑๐๒ | พุทธปรัชญา Buddhist Philosophy |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๒๐๓ | ระเบียบวิธีวิจัยทางพระพุทธศาสนา Research Methodology in Buddhism |
๓ (๓-๐-๖) |
วิชาบังคับแบบไม่นับหน่วยกิต จํานวน ๑๕ หน่วยกิต
๖๐๐ ๑๐๔ | พระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษ Buddhism in English |
(๓) (๓-๐-๖) |
๖๐๐ ๒๐๕ | กรรมฐาน Buddhist Meditation |
(๓) (๓-๐-๖) |
๖๐๐ ๔๐๑ | สัมมนาวิทยานิพนธ์ Seminar on Thesis |
(๓) (๓-๐-๖) |
๑๐๒ ๓๐๒ | การใช้ภาษาบาลี ๑ Usage of Pali I |
(๓) (๓-๐-๖) |
๑๐๒ ๓๐๖ | การใช้ภาษาบาลี ๒ Usage of Pali II |
(๓) (๓-๐-๖) |
วิชาเอก นิสิตต้องศึกษาวิชาเอกพระพุทธศาสนา จำนวน ๑๒ หน่วยกิต
๖๐๒ ๑๐๖ | พระพุทธศาสนาเถรวาท Theravada Buddhism |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๓๐๗ | พระพุทธศาสนามหายาน Mahayana Buddhism |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๒๐๘ | ศึกษางานสำคัญทางพระพุทธศาสนา Selected Buddhist Works |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๓๐๙ | สัมมนาพระพุทธศาสนา Seminar on Buddhism |
๓ (๓-๐-๖) |
วิชาเลือก นิสิตต้องเลือกศึกษาจากรายวิชาที่กําหนดให้ไม่น้อยกว่า จำนวน ๖ หน่วยกิต
๖๐๒ ๓๑๐ | พุทธจริยศาสตร์กับปัญหาสังคมร่วมสมัย Buddhist Ethics and Contemporary Social Problems |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๓๑๑ | ขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน New-Buddhist Movements in Contemporary World |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๓๑๓ | พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ Buddhism and Modern Sciences |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๓๑๔ | พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย Buddhism and Thai Wisdom |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๓๑๕ | สานเสวนาทางศาสนา Inter-Religious Dialogue |
๓ (๓-๐-๖) |
วิทยานิพนธ์ จํานวน ๑๒ หน่วยกิต
๖๐๒ ๔๐๐ | วิทยานิพนธ์ Thesis |
๑๒ หน่วยกิต |
(๒) แผน ข
วิชาบังคับแบบนับหน่วยกิต จํานวน ๙ หน่วยกิต
๖๐๐ ๑๐๑ | พระไตรปิฎกวิเคราะห์ Tipitaka Analysis |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๐ ๑๐๒ | พุทธปรัชญา Buddhist Philosophy |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๒๐๓ | ระเบียบวิธีวิจัยทางพระพุทธศาสนา Research Methodology in Buddhism |
๓ (๓-๐-๖) |
วิชาบังคับแบบไม่นับหน่วยกิต จํานวน ๑๕ หน่วยกิต
๖๐๐ ๑๐๔ | พระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษ Buddhism in English |
(๓) (๓-๐-๖) |
๖๐๐ ๒๐๕ | กรรมฐาน Buddhist Meditation |
(๓) (๓-๐-๖) |
๖๐๐ ๔๐๑ | สัมมนาวิทยานิพนธ์ Seminar on Thesis |
(๓) (๓-๐-๖) |
๑๐๒ ๓๐๒ | การใช้ภาษาบาลี ๑ Usage of Pali I |
(๓) (๓-๐-๖) |
๑๐๒ ๓๐๖ | การใช้ภาษาบาลี ๒ Usage of Pali II |
(๓) (๓-๐-๖) |
วิชาเอก นิสิตต้องศึกษาวิชาเอกพระพุทธศาสนา จำนวน ๑๒ หน่วยกิต
๖๐๒ ๑๐๖ | พระพุทธศาสนาเถรวาท Theravada Buddhism |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๓๐๗ | พระพุทธศาสนามหายาน Mahayana Buddhism |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๒๐๘ | ศึกษางานสำคัญทางพระพุทธศาสนา Selected Buddhist Works |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๓๐๙ | สัมมนาพระพุทธศาสนา Seminar on Buddhism |
๓ (๓-๐-๖) |
วิชาเลือก นิสิตต้องเลือกศึกษาจากรายวิชาที่กําหนดให้ไม่น้อยกว่า จำนวน ๑๒ หน่วยกิต
๖๐๒ ๓๑๐ | พุทธจริยศาสตร์กับปัญหาสังคมร่วมสมัย Buddhist Ethics and Contemporary Social Problems |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๓๑๑ | ขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน New-Buddhist Movements in Contemporary World |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๓๑๓ | พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ Buddhism and Modern Sciences |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๓๑๔ | พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย Buddhism and Thai Wisdom |
๓ (๓-๐-๖) |
๖๐๒ ๓๑๕ | สานเสวนาทางศาสนา Inter-Religious Dialogue |
๓ (๓-๐-๖) |
สารนิพนธ์ ๖ หน่วยกิต
๖๐๒ ๒๐๐ | สารนิพนธ์ Research Paper |
๖ หน่วยกิต |