พระครูปริยัติธรรมวงศ์, รศ.ดร.

ประธานหลักสูตรปรัชญา

สถานที่เกิด ๒๕ หมู่ ๘ บ้านหินแห่ ต.ดอนกลาง อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม รหัสไปรษณีย์ ๔๔๑๔๐
ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์
ตำแหน่งทางคณะสงฆ์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง
ที่อยู่ปัจจุบัน ๕๙๓ วัดหนองแวง ถ.กลาางเมือง ต.ในเมือง อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ ๔๐๐๐๐
สถานที่ทำงาน/การติดต่อ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ๓๐ หมู่ ๑ ต.โคกสี อ.เมือง จ.ขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ ๔๐๐๐๐
การศึกษา ปริญญาเอก พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อปีการศึกษา ๒๕๕๘
ปริญญาโท ศศ.ม. (ปรัชญา) จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อปีการศึกษา ๒๕๔๔
ปริญญาตรี พธ.บ. (ปรัชญา) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อปีการศึกษา ๒๕๓๙
ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู ป.วค. จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมือ่การศึกษา ๒๕๓๙
เปรียญธรรม ๔ ประโยค จากสำนักเรียนวัดหนองแวง เมื่อปีการศึกษา ๒๕๓๕
นักธรรมชั้นเอก จากสำนักเรียนวัดหนองกุง เมื่อปีการศึกษา ๒๕๓๒
งานคณะสงฆ์ ๑. ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดหนองแวง ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดหวัดขอนแก่น
๒. คณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนโครงการ “หมู่บ้านรักษาศีล ๕” ประจำหนตะวันออก ตั้งแต่วันที่ ๑๙ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ตามคำสั่งที่ ๑๓/๒๕๕๙
๓. ผู้ช่วยเลขานุการคณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนโครงการ “วัด ประชา รัฐ สร้างสุข” ประจำหนตะวันออก ตั้งแต่วันที่ ๑๔ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามคำสั่งที่ ๒/๒๕๖๓
ประวัติการทำงาน เคยเป็นบุคลากร หรือ ลูกจ้างมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑. ตำแหน่ง อาจารย์ (ลูกจ้างชั่วคราว) ตั้งแต่วันที่ - เดือน พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ถึงวันที่ ๑ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ คำสั่งมหาวิทยาลัยที่ - / - ลงวันที่ - เดือน - พ.ศ.๒๕๕๗

๒. ตำแหน่ง รักษาการหัวหน้าฝ่ายกิจการนิสิต ตั้งแต่วันที่ ๓๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึงวันที่ ๓๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐ คำสั่งมหาวิทยาลัยที่ - / - ลงวันที่ - เดือน - พ.ศ.-

๓. ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป ตั้งแต่วันที่ ๒๗ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ถึงวันที่ ๓๑ เดือน มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๓ คำสั่งมหาวิทยาลัยที่ ๔๔๐/ ๒๕๕๐ ลงวันที่ ๓๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

๔. ตำแหน่ง รักษาการผู้อำนวยการสำนักวิชาการวิทยาเขตขอนแก่น ตั้งแต่วันที่ ๑ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๒๐ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ คำสั่งมหาวิทยาลัยที่ ๑๗๙/ ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๙ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

๕. ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักวิชาการวิทยาเขตขอนแก่น ตั้งแต่วันที่ ๒๐ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๓๐ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ คำสั่งมหาวิทยาลัยที่ ๒๕๑/ ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๓๐ เดือน เมษายน พ.ศ.๒๕๕๔

๖. ตำแหน่ง ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริหาร ตั้งแต่วันที่ ๑๕ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามคำสั่งมหาวิทยาลัยที่ ๔๓๑/ ๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๕ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

๗. ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชา พระพุทธศาสนา ตั้งแต่วันที่ ๒๐ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๕ ตามคำสั่งที่ ๗๔๙/๒๕๕๙

ตำแหน่งปัจจุบัน
๑. ตำแหน่ง อาจารย์ เลขที่ ๑๒๓๑๐๐๓ สังกัด วิทยาเขตขอนแก่น ดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ ๒ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ อัตราเงินเดือน (เริ่มต้น) ๑๐,๑๐๐ บาท จนถึงปัจจุบัน ๓๔,๗๕๐ บาท ตามคำสั่งมหาวิทยาลัยที่ ๔๐๔/ ๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๗ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙

๒. ตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ สาขาวิชา พระพุทธศาสนา ตั้งแต่วันที่ ๒๙ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามคำสั่งที่ ๑๙๖/๒๕๖๒
งานวิจัย ผลงานวิจัย
๑. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. และคณะ, การเปรียบเทียบจริยศาสตร์ในพุทธศาสนาเถรวาทกับแนวคิดของเพลโต (Comparative Study on the Ethics in Theravada Buddhism with The Ethical Concept of Plato)” แหล่งทุนสนับสนุน จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีงบประมาณ ๒๕๕๓.

๒. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. และคณะ, ภูมิปัญญาพระพุทธศาสนาเพื่อสังคมของประชาคมอาเซียน (The Wisdom of Socially Engaged Buddhism in ASEAN Community), แหล่งทุนสนับสนุน จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีงบประมาณ ๒๕๕๘

๓. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. และคณะ. การศึกษาองค์ความรู้และกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงพุทธของปราชญ์ชาวบ้านอีสาน (A Study of Knowledge and Buddhist Knowledge Relay Process of Esan Local Scholar). แหล่งทุนสนับสนุน จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีงบประมาณ ๒๕๕๙.

๔. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. และคณะ, ผู้อำนวยการแผนงานวิจัย (ชุดโครงการวิจัย) เรื่อง รูปแบบและกระบวนการสร้างสังคมปลอดยาเสพติดตามหลักพระพุทธศาสนา (Model and Process to Create the Drug free Society Accordance with Principle of Buddhism) แหล่งทุนสนับสนุน สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีงบประมาณ ๒๕๖๐.

ผลงานร่วมวิจัย
๑. ผศ.พลเผ่า เพ็งวิภาศ และ พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร., วิเคราะห์ผลกระทบสถานะ บทบาท และองค์ความรู้ของประเพณีฮีต สิบสอง คอง สิบสี่ แหล่งทุนสนับสนุน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีงบประมาณ ๒๕๕๙.

๒. อาจารย์นิภาภัทร อยู่พุ่ม, พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. และคณะ, ยุทธศาสตร์บูรณาการเชิงพุทธเพื่อสร้างสังคมปลอดยาเสพติดในประเทศไทย (Buddhist Integration Strategy to Create the Drug free Society Accordance in Thailand) แหล่งทุนสนับสนุน สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
บทความวิจัย/ทางวิชาการ การตีพิมพ์บทความวิจัย
๑. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. และคณะ, “การเปรียบเทียบจริยศาสตร์ในพุทธศาสนาเถรวาทกับแนวคิดของเพลโต (Comparative Study on the Ethics in Theravada Buddhism with The Ethical Concept of Plato)”, วารสารธรรมทรรศน์. ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๓ (พฤศจิกายน ๒๕๕๗ – กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘) : หน้า ๑๔๕ – ๑๕๘.

๒. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. และคณะ, “ภูมิปัญญาพระพุทธศาสนาเพื่อสังคมของประชาคมอาเซียน (The Wisdom of Socially Engaged Buddhism in ASEAN Community)”, วารสารธรรมทรรศน์, ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๓ (พฤศจิกายน – ธันวาคม ๒๕๕๙) : หน้า ๑ – ๑๖.

๓. Phrakhrupariyatidhammawong, Asst. Prof, Dr. Sanor Klinngam,. Nipapat Yoophum Thailand, Nites Sanannaree ,.Terdsak Tongyam. The Wisdom of Socially Engaged Buddhism: Identities in the Cultural Geography of the ASEAN Community The 7th International Buddhist Research Seminar 18-20 February, 2016 at MCU Buddhist College, Nan Province, Thailand.

๔. Phrakhrupariyatidhammawong, Asst. Prof, Dr. Nipapat Yoophum and others. Buddhist Wisdom Health Care: Identities in the. Cultural Geography of the ASEAN Community. The 7th International Buddhist Research Seminar 18-20 February, 2016 at MCU Buddhist College, Nan Province, Thailand.

๕. Phrakhrupariyatidhammawong, Asst. Prof, Dr. “Buddhist Wisdom Health Care Identities in the Cultural Geography of ASEAN Community”, Journal of International Buddhist Studies. Volume 7 Number 2 (July-December 2016): pp 155 – 161.

๖. Phrakhrupariyatidhammawong, Asst. Prof, Dr. “Innovation of Buddhist Knowledge Diffusion for the Development of Thai Societies towards Sufficiency Economy of E-San Local Scholars”, Journal of International Buddhist Studies. Volume 8 Number 2 (December 2017): pp 48 – 59.

๗. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. และคณะ, รูปแบบและกระบวนการสร้างสังคมจิตอาสาป้องกันปัญหายาเสพติดในประเทศไทย (Model and Process of Volunteer Society to Prevent Drug Problems in Thailand), การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๕ ระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๓ The 5th National and the 3rd International Conferences 2018 “จิตอาสากับการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน Volunteer Spirit with Sustainable Social Development, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น, ๒๘-๒๙ มีนาคม ๒๕๖๑, (ISBN: ๙๗๘-๖๑๖-๓๐๐-๒๑๐-๕), เล่มที่ ๓ หน้าที่ ๒๗๖-๒๘๕.

๘. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. และคณะ, ครูสร้างศิษย์: สอนจิตอาสาอย่างไรในชั้นเรียน? (Builder Teacher: How to Teach Volunteering in a Classroom?), การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๕ ระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๓ The 5th National and the 3rd International Conferences 2018 “จิตอาสากับการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน Volunteer Spirit with Sustainable Social Development, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น, ๒๘-๒๙ มีนาคม ๒๕๖๑, (ISBN: ๙๗๘-๖๑๖-๓๐๐-๒๑๐-๕),

๙. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. และคณะ, กองทุนแม่ของแผ่นดิน : ศาสตร์และศิลป์พลังจิตอาสาแห่งความดีงาม (Kongtunmae : Science and Art Volunteerism of Goodness), การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๕ ระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๓ The 5th National and the 3rd International Conferences 2018 “จิตอาสากับการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน Volunteer Spirit with Sustainable Social Development, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น, ๒๘-๒๙ มีนาคม ๒๕๖๑, (ISBN: ๙๗๘-๖๑๖-๓๐๐-๒๑๐-๕), หน้า ๒๖๔๙-๒๖๕๙.

๑๐. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. และคณะ, การจัดการความรู้การป้องกันยาเสพติดของพระสงฆ์กลุ่มสังฆพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (The Drug Free Knowledge Management Buddhist Monk Develop Sangha Groups in North East Area), การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๕ ระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๓ The 5th National and the 3rd International Conferences 2018 “จิตอาสากับการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน Volunteer Spirit with Sustainable Social Development, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น, ๒๘-๒๙ มีนาคม ๒๕๖๑, (ISBN: ๙๗๘-๖๑๖-๓๐๐-๒๑๐-๕), หน้า ๕๒๐-๕๓๓.

๑๑. Phrakhrupariyatidhammawong, Asst. Prof, Dr. The Model and Process to Build Strength of Villages, Monasteries, and Schools for Tackling Drug Addiction according Buddhism in the Northeastern Region. The 5th National and the 3rd International Conferences 2018 “Volunteer Spirit with Sustainable Social Development, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น, ๒๘-๒๙ มีนาคม ๒๕๖๑, (ISBN: ๙๗๘-๖๑๖-๓๐๐-๒๑๐-๕), Pp.129-137.
ตำราวิชาการ งานเรียบเรียง
๑. พระมหาสุพล ธมฺมวํโส/แสนพงษ์, ประมวลภาพและคำอธิบาย ฮีตสิบสองคองสิบสี่, (ขอนแก่น : หจก. คลังนานาวิทยา, ๒๕๔๖).
๒. พระครูปริยัติธรรมวงศ์ (สุพล ธมฺมวํโส/แสนพงษ์), ทานวิถีชีวิต วิถีพุทธ, (ขอนแก่น : หจก. คลังนานาวิทยา, ๒๕๔๙).
๓. พระครูปริยัติธรรมวงศ์ (สุพล ธมฺมวํโส/แสนพงษ์), ออนซอน ๒๑๗ วัดหนองแวง พระอารามหลวง (ขอนแก่น : หจก. คลังนานาวิทยา, ๒๕๔๙).
๔. พระครูปริยัติธรรมวงศ์ (สุพล ธมฺมวํโส/แสนพงษ์), บุญวิถีชีวิต กฐินวิถีพุทธ, (ขอนแก่น : หจก. คลังนานาวิทยา, ๒๕๕๐).
๕. พระครูปริยัติธรรมวงศ์ (สุพล ธมฺมวํโส/แสนพงษ์), หลักสูตรการอบรม ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น (หลักสูตร ๑ พัฒนาคุณภาพชีวิต, หลักสูตร ๒ พัฒนาภาวะผู้นำเยาวชนในสถานศึกษา, หลักสูตร ๓ พัฒนาจิตใจ และ หลักสูตร ๔ พัฒนาปัญญา) (ขอนแก่น : หจก. คลังนานาวิทยา, ๒๕๕๐).
๖. พระครูปริยัติธรรมวงศ์ (สุพล ธมฺมวํโส/แสนพงษ์), ไตรสิกขาพัฒนาชีวิต และ พุทธวิธีแก้ปัญหาสังคม, (ขอนแก่น : เอ็มมี่ ก๊อปปี้ เซนเตอร์ [Emmy Copy Center], ๒๕๕๔).
๗. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร., พระพุทธเจ้าในฐานะนักบริหาร (The Lord Buddha: A Great of The World), (กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สูตรไพศาล, ๒๕๕๙).

หนังสือ
๘. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร., ชีวิตวิถีพุทธ (The Buddhist’s Life), (ขอนแก่น : เอ็มมี่ ก๊อปปี้ เซนเตอร์ [Emmy Copy Center], ๒๕๖๐).

งานเขียนตำรากลาง ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑. เขียนตำรากลาง พระสุตตันตปิฎก บทที่ ๓ ปีพ.ศ.๒๕๕๓
๒. เขียนตำรากลาง ศาสนาทั่วไป บทที่ ๑ ปีพ.ศ.๒๕๕๔
๓. เขียนตำรากลาง พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ บทที่ ๔ ปีพ.ศ.๒๕๕๕
๔. ปรับปรุงตำรากลาง พระสุตตันตปิฎก บทที่ ๓ ปีพ.ศ.๒๕๕๗
เอกสารประกอบการสอน เอกสารประกอบการสอน
๑. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, จิตวิทยาในพระไตรปิฎก (Phycology In Tipitaka), (ขอนแก่น : หจก. คลังนานาวิทยา, ๒๕๕๗).

เอกสารคำสอน
๒. พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร., พระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน (Buddhism in Contemporary World), ขอนแก่น : เอ็มมี่ ก๊อปปี้ เซนเตอร์ [Emmy Copy Center], ๒๕๖๐.
งานที่ปรึกษาวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา สารนิพนธ์
๑. อาจารย์ที่ปรึกษา สารนิพนธ์ เรื่อง การศึกษาพัฒนาการของการสร้างกุฏิสงฆ์ในพระพุทธศาสนา [A STUDY OF THE BUDDHIST MONK’S COTTAGE DEVELOPMENT] ของ นางสาว พิริยา พิทยาวัฒนชัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสอบวัดคุณสมบัติ วิชา ศึกษาเฉพาะเรื่องในพัฒนาการแห่งพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๘

ดุษฎีนิพนธ์
๑. อาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ เรื่อง วิเคราะห์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยการใช้พุทธศิลป์และภูมิทัศนสถาน ของวัดเจติยภูมิ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น [AN ANALYSIS OF BUDDHISM PROPAGATION BY USING BUDDHIST ARTS AND LANDSCAPE OF CETIYAPHUM MONASTERY, NAMPHONG DISTRICT, KHONKAEN] ของ นางสาว พิริยา พิทยาวัฒนชัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชา พระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๖๑

รางวัล/การได้รับเชิดชูเกียรติ / การศึกษาดูงาน รางวัล
๑. ได้รับรางวัลเป็น โลห์เกียรติคุณ ยกย่องในฐานะร่วมงานกับสำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีพ.ศ.๒๕๔๑ เป็นต้นมา จนกระทั่งสำนักงานได้เปลี่ยนชื่อไปเป็น สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาค ๔ ในนามศูนย์พัฒนาคุณธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เวลาร่วมเกือบ ๑๗ ปี จึงได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลผลงานดีเด่นประเภทบุคคล "ด้านการส่งเสริมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด" โดยรับรางวัลจาก พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

๒. รางวัลงานวิจัยเพื่อรับใช้สังคม ได้รับคัดเลือกเป็นผลงานวิจัยที่มีคุณค่า ระดับดี ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๑ จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผ่านผลงานวิจัย เรื่อง "ภูมิปัญญาพระพุทธศาสนาเพื่อสังคมของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ The Wisdom of Socially Engaged Buddhism in Association of Southeast Asian Nation"

๓. รางวัลงานวิจัยเพื่อรับใช้สังคม ได้รับคัดเลือกเป็นผลงานวิจัยที่มีคุณค่า ระดับดี ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๒ จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผ่านผลงานวิจัย เรื่อง "การศึกษาองค์ความรู้และกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงพุทธของปราชญ์ชาวบ้านอีสาน" (A Study of Knowledge and Buddhist Knowledge Relay Process of Esan Local Scholar)

๔. รางวัลงานวิจัยดีเด่น ได้รับคัดเลือกเป็นผลงานวิจัยที่มีคุณค่า ระดับดีเด่น ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๓ จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผ่านผลงานแผนงานวิจัย เรื่อง "รูปแบบและกระบวนการสร้างสังคมปลอดยาเสพติดตามหลักพระพุทธศาสนา" (Model and Process to Create the Drug free Society Accordance with Principle of Buddhism)

การได้รับเชิดชูเกียรติ
๑. สภาวิทยาเขตขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น มอบโล่ประกาศเกียรติคุณ เพื่อแสดงว่า พระครูปริยัติธรรมวงศ์, รศ.ดร. ได้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ระดับ รองศาสตราจารย์ สาขาวิชา พระพุทธศาสนา สังกัด วิทยาเขตขอนแก่น สมควรได้รับการยกย่องประกาศเกียรติคุณให้ปรากฏไพศาล เป็นทิฏฐานุคติแก่อนุชนสืบไป ให้ไว้ ณ วันที่ ๖ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๓ พระธรรมรัตนดิลก กรรมการมหาเถรสมาคม ประธานสภาวิทยาเขตขอนแก่น
๒. สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มอบเกียรติบัตรให้ พระครูปริยัติธรรมวงศ์ (สุพล ธมฺมวํโส), รศ.ดร. ผู้ทำคุณประโยชน์แก่สังคม ประเทศชาติ พระพุทธศาสนา และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ศิษย์เก่าดีเด่นเกียรติคุณ ด้านผลงานสร้างสรรค์และ/หรือผลงานวิชาการ ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๓ ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๖๓ พระราชปริยัติกวี, ศ.ดร. อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตาจารย์ พร.เมธาพันธ์ โพธิธีรโรจน์ นายกสมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การศึกษาดูงาน
สมณศักดิ์ ตำแหน่งพระสังฆาธิการ
๑. ตำแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ตั้งแต่วันที่ ๒๔ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๗ ตามคำสั่งที่ ๕/๒๕๔๗

๒. ตำแหน่ง พระครูสัญญาบัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก ในราชทินนามที่ พระครูปริยัติธรรมวงศ์ ตั้งแต่วันที่ ๕ เดือน ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๘ ตามคำสั่งที่ ๕/๒๕๔๗

๓. ตำแหน่งเลื่อนชั้นเป็น พระครูสัญญาบัตรผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นพิเศษ ในราชทินนามเดิมที่ พระครูปริยัติธรรมวงศ์ ตั้งแต่วันที่ ๕ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔