ดร. อัจฉราพร ใครบุตร

อาจารย์

สถานที่เกิด จังหวัดสกลนคร
ตำแหน่งทางวิชาการ
ตำแหน่งทางคณะสงฆ์
ที่อยู่ปัจจุบัน 18 ถนนสุขเกษม ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
สถานที่ทำงาน/การติดต่อ
การศึกษา ระดับปริญญาเอก
  • หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยพะเยา ปี พ.ศ. ที่จบ 2563
ระดับปริญญาโท
  • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ. ที่จบ 2548
ระดับปริญญาตรี
  • หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี พ.ศ. ที่จบ 2524
งานคณะสงฆ์
ประวัติการทำงาน ประวัติการทำงาน
  • พ.ศ 2525 - 2527 อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนโพนพิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
  • พ.ศ 2527 – 2562 ครูชำนาญการพิเศษ (อาจารย์ 3 ระดับ 8) โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร
  • ปฏิบัติหน้าที่พิเศษ หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา พ.ศ. 2562 - ปัจจุบัน ข้าราชการบำนาญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร
ประสบการณ์สอนรายวิชาที่สอน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6
  • รายวิชา ภาษาไทย
  • รายวิชา หลักภาษาไทย
  • รายวิชา ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ประสบการณ์งานบริการทางวิชาการ
  • ผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาเครื่องมือวิจัย
  • ผู้เชี่ยวชาญในการตรวจผลงานทางวิชาการ
  • วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย /โครงงายน/งานวิชาการ
  • กรรมการตัดสินกิจกรรมวิชาภาษาไทย เช่น การประกวดแต่งคำประพันธ์
งานวิจัย
  • อัจฉราพร ใครบุตร. (2563). วรรณกรรมเพลงพื้นถิ่นอีสาน: รูปแบบและลักษณะการใช้ภาษา. วารสารรัตนปัญญา, 5(2), 138-154.
  • อัจฉราพร ใครบุตร. (2563). อัตลักษณ์สารัตถะในวรรณกรรมเพลงพื้นถิ่นอีสาน. วารสารวิชาการ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(2).
บทความวิจัย/ทางวิชาการ
  • อัจฉราพร ใครบุตร และวิไลศักดิ์ กิ่งคำ. (2559). วัจนกรรมในบทเพลงปลุกใจให้รักชาติ ระหว่าง พ.ศ. 2510–2550. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 6(1), 61-69
  • ละอองดาว กรึกกระโทก, วุธยา สืบเทพ และ อัจฉราพร ใครบุตร . “การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำในภาษาไทยโยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๗ โรงเรีนสตรีสิริเกศ ตำบลใต้ อ.เมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ”. วารสารครุศาสตร์ มจร.โคราช. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม- กันยายน ๒๕๖๕) : ๓๔๕-๓๖๐. (TCI กลุ่ม ๓ )
  • ทรงศร รักประเทศ, พัสสน พรมมา, อนันตศักดิ์ พลแก้วเกษ, กฤษณะ ศรีกกโพธิ์, เอกฉัท จารุเมธีชน ,อัจฉราพร ใครบุตร, พิธพิบูลย์ ทองเกลี้ยง, ทัศนีย์ มงคลรัตน์ , และ พระวชิรวิชญ์ ฐิตฺวํโส. “เหล้า : บทบาทในชุมชนอีสาน”. Journal of Modern Learning Development. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑๑ (ธันวาคม ๒๕๖๕) : ๓๒๗-๓๔๑. (TCI กลุ่ม ๒)
  • พระครูคัมภีร์ธรรมานุวัตร, พชรกฤต ศรีบุญเรือง, กัลยา กุลสุวรรณ, พิธพิบูลย์ ทองเกลี้ยง, ดร.ทัศนีย์ มงคลรัตน์, พระวชิรวิชญ์ ฐิตฺวํโส และอัจฉราพร ใครบุตร. วิถีการกินของพระสงฆ์ :การสร้างอารมณ์ขันในนิทานก้อมอีสาน. Journal of Modern Learning Development. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑๑ (ธันวาคม ๒๕๖๕) : ๓๔๒-๓๕๗. (TCI กลุ่ม ๒)
  • วุธยา สืบเทพ, อัจฉราพร ใครบุตร, พชรกฤต ศรีบุญเรือง และ จิรวัฒน์ สิทธิธรรม . “หลักสูตรกิจกรรมสร้างสรรค์และเรื่องเล่มเฉพาะถิ่นโคราชโดยอาศัยการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมชุมชน เพื่อการเชื่อมโยงองค์ความรู้วัฒนธรรมการปั้นด่านเกวียนแบบโบราณ สู่การสร้างเยาวชนมัคคุเทศก์ต้นแบบประจำเขตพื้นที่การศึกษา บ้านด่านเกวียน จังหวัดนครราชสีมา”. Journal of Modern Learning Development. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ (มีนาคม ๒๕๖๖). (TCI กลุ่ม ๒)
ตำราวิชาการ
เอกสารประกอบการสอน เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการแต่งคำประพันธ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
งานที่ปรึกษาวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
รางวัล/การได้รับเชิดชูเกียรติ / การศึกษาดูงาน
  • รางวัลครูภาษาไทยดีเด่น คุรุสภา ประจำปีพ.ศ. 2545
  • รางวัลครูภาษาไทยประกายเพชร มูลนิธิเพขรภาษา พ.ศ. 2547
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดบทกลอน ประเภทประชาชนในวาระครบรอบ 30 ปี 14 ตุลาคม 2516 – 2546 ประจำปี พ.ศ. 2546 โดย รัฐสภา
  • รางวัลชนะเลิศ การประกวดกลอนสุภาพเทิดพระเกียรติ”ในหลวงของเรา” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 พ.ศ. 2550
  • รางวัล “ครูดีในดวงใจ” ประจำปีพ.ศ. 2551 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 พ.ศ. 2551
  • รางวัลผู้ใช้ภาษาถิ่นดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2560 กระทรวงวัฒนธรรม
สมณศักดิ์