องค์ประกอบที่ ๑ การกำกับมาตรฐาน มีตัวชี้วัดที่ ๑.๑ – ๑.๑๒ (ระดับปริญญาตรีใช้ เกณฑ์ ๓ ข้อ ระดับปริญญาโท ใช้เกณฑ์ ๑๑ ข้อ และระดับปริญญาเอก ใช้เกณฑ์ ๑๑ ข้อ) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดย สกอ. มีแนวปฏิบัติที่ดีและเทคนิคการจัดทำรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ดังนี้
ตารางที่ ๔.๒ แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทำรายงานองค์ประกอบที่ ๑
แนวปฏิบัติที่ดี | เอกสารและหลักฐาน | กระบวนการ |
ระดับปริญญาตรีใช้ เกณฑ์ ๓ ข้อ ระดับปริญญาโท ใช้เกณฑ์ ๑๑ ข้อและระดับปริญญาเอก ใช้เกณฑ์ ๑๑ ข้อ ตามตัวบ่งชี้ที่ ๑ – ๑๒ ดังนี้ | ๑. เอกสารหลักสูตรฉบับที่ สกอ.ประทับตรารับทราบ | C |
๑. จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร | ๒. หนังสือที่ สกอ. แจ้งรับทราบหลักสูตร | C |
๒. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร | ๓. กรณีหลักสูตรยังไม่ได้แจ้งการรับทราบ ให้มีหนังสือนำส่ง สกอ. หรือหนังสือส่งคืนจาก สกอ. และรายงานการประชุมสภาที่อนุมัติ/ให้ความเห็นชอบหลักสูตร | C |
๓. คุณสมบัติของอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร | ๔. คำสั่งมหาวิทยาลัยเรื่องจ้างบุคลากรอัตราจ้าง ที่ลงนามโดยอธิการบดี | C |
๔. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน | ๕. สัญญาจ้างอาจารย์ที่ลงนามโดยผู้ที่อธิการบดีมอบหมายเป็นครั้งๆ หรือหลักฐานแสดงว่าอยู่ระหว่างการดำเนินการทำสัญญาจ้าง | C |
๕. คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก และอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ | ๖. คำสั่งมหาวิทยาลัยแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร/อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ที่ลงนามโดยอธิการบดีหรือนายกสภามหาวิทยาลัย | C |
๖. คุณสมบัติของอาจารย์ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม | ๗. ตารางสอนที่อาจารย์ประจำหลักสูตร/อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่สอนในปีการศึกษานั้น | C |
๗. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ | ๘. หลักฐานการรับเงินเดือนมีลักษณะการจ่ายเป็นเงินเดือน | C |
๘. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา | ||
๙. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา | ||
๑๐. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษามีผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ | ||
๑๑. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด | ||
เกณฑ์การประเมินที่ ๑๑ การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนดขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร (การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนดตามเกณฑ์การประเมินนี้ หมายถึง การปรับปรุงหลักสูตรในระดับมากหลักสูตรใหม่/หลักปรับปรุง พ.ศ. ใด เปิดสอนโดยใช้หลักสูตรดังกล่าวมาแล้วกี่ปี จะครบรอบการปรับปรุงหลักสูตรเมื่อใด และขณะนี้อยู่ในขั้นตอนใดของการปรับปรุงหลักสูตร) | ๙. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร….. สาขาวิชา………… | C |
๑๐. มติสภาวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ …./…. เมื่อวันที่ … เดือน …… พ.ศ. ……… | C | |
๑๑. มติสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในคราวประชุมครั้งที่…./…. เมื่อวันที่……เดือน … พ.ศ. … | C | |
๑๒. มคอ.๒ หลักสูตร… สาขาวิชา…. ฉบับปรับปรุง พ.ศ. … (ฉบับเดิม) | C | |
๑๓. มคอ.๒ หลักสูตร….. สาขาวิชา….. ฉบับปรับปรุง พ.ศ…. (ฉบับปรับปรุง พ.ศ…….) | C | |
๑๔. คู่มือการประเมินหลักสูตรของมหาวิทยาลัย | C |
ที่มา : ฤดี แสงเดือนฉาย, แนวทางการพัฒนางาน เรื่อง การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น, (กลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา สำนักวิชาการ วิทยาเขตขอนแก่น ๒๕๖๒), หน้า ๘๖ – ๘๗.